แอ พ สล็อต เครดิตฟรี 100
การเลี้ยง ปลาหางนกยูง

หัวข้อ

การเลี้ยง ปลาหางนกยูง

การเลี้ยง ปลาหางนกยูง ปลาหางนกยูงจัดเป็นปลาสวยงามประเภทหนึ่งที่มีผู้นิยมเลี้ยงไว้ดูเล่น พันธุ์ที่ได้รับความนิยมในปัจจุบัน มีประมาณ 5 สายพันธุ์ ได้แก่ Cobra (คอบร้า) Tuxedo (ทักซิโด้) Mosaic (โมเสค) Grass (กร๊าซ) และ Sword tall (นกยูงหางดาบ) จรชีวิตปลาหางนกยูง พันธุ์เหล่านี้ได้รับการปรับปรุงให้มีลักษณะสวยงาม แข็งแรงลำตัวใหญ่สมส่วน ไม่คดงอ มีการทรงตัวปกติ ครีบหางใหญ่ไม่หักพับขณะว่าย และที่สำคัญมีสีสันลวดลายตรงตามสายพันธุ์เลี้ยงปลาหางนกยูง แบบมืออาชีพปลาหางนกยูงเป็นปลาที่ชอบอยู่รวมกันเป็นฝูง กินสัตว์น้ำตัวเล็กเป็นอาหาร รวมทั้งลูกปลาตัวเล็กๆ ที่เกิดใหม่ด้วย เมื่อปลามีอายุประมาณ 3 เดือนก็สามารถผสมพันธุ์ได้แล้ว ดังนั้นผู้เลี้ยงจึงต้องแยกปลาเพศผู้กับเพศเมียไว้คนละบ่อ เพื่อป้องกันการผสมพันธุ์กันเอง การแยกเพศทำได้เมื่อลูกปลามีอายุประมาณ 1 เดือนขึ้นไปสำหรับวิธีเลี้ยงปลาหางนกยูงให้มีสีสันสวยงาม เพื่อให้ได้ราคาดี มีขั้นตอนดังต่อไปนี้

 

เตรียมบ่อ การเลี้ยง ปลาหางนกยูง 

 

การเลี้ยง ปลาหางนกยูง เตรียมบ่อหรือตู้ที่ใช้เลี้ยงตามต้องการทำความสะอาด การเลี้ยงปลาหางนกยูงโรคที่พบ ผึ่งแดดให้แห้งหลังจากนั้นเปิดน้ำใส่แช่ทิ้งไว้ 1 วัน ก่อนปล่อยปลาลงเลี้ยง

 

เตรียมน้ำ

 

น้ำที่ใช้เลี้ยงปลาหางนกยูง ควรจะต้องเป็นน้ำจืดที่สะอาด ไม่ใช่น้ำบริสุทธิ์ ไม่เป็นกรดเป็นด่่าง ในน้ำสามารถมีสารละลายที่ไม่เป็นพิษไม่ควรมีคลอรีนซึ่งนิยมใช้ฆ่าเชื้อในน้ำ แอมโมเนียจากการขับถ่าย แอมโมเนียมไนไตรท์จากการย่อยสลายของระบบจุลินทรีย์ที่ไม่สมบูรณ์ไม่มีสารชีวภาพเช่นเศษอาหาร ขี้ปลามากจนเกินกว่าการย่อยสลายที่ตู้เลี้ยงสามารถรองรับได้ เศษอาหาร ขี้ปลาที่มากจนเกินไปส่งเสริมการเจริญของเชื้อโรค และการเป็นพิษของน้ำน้ำประปา ต้องไม่มีคลอรีนเจือปนอยู่ โดยพักน้ำทิ้งไว้ประมาณ 1 สัปดาห์น้ำบาดาล ทำเช่นเดียวกับน้ำประปา คือพักน้ำทิ้งไว้ 1 สัปดาห์ และเติมออกซิเจนตลอดเพื่อเป็นการเพิ่มปริมาณออกซิเจนในน้ำปลาหางนกยูงสามารถอยู่ในน้ำที่มีสารละลายทางธรรมชาติต่ำเช่น น้ำประปาที่ผ่านการพักเพื่อกำจัดคลอรีนแล้ว จนถึง น้ำในแหล่งน้ำธรรมชาติ ซึ่งมีสารละลายสูง เมื่อเราได้ปลาหางนกยูงมาเราจะเริ่มต้นอย่างไร จะให้ปลานั้นอยู่ในน้ำแบบไหน จึงไม่ใช่สูตรที่แน่นอน การเปลี่ยนแปลงสภาพน้ำอย่างทันทีเป็นอันตรายอย่่างยิ่งกับปลาหางนกยูงน้ำในตู้ปลาโดยทั่วไป จะเป็นน้ำที่เลี้ยงปลามาแล้วระยะหนึ่ง ในตู้จะมีระบบกรอง ซึ่งมีการย่อยเศษอาหารและของเสียได้ระดับหนึ่ง (ตู้เลี้ยงปลาหางนกยูง นิยมใช้การย่อยสลายด้วยจุลินทรีย์ในกรองฟองน้ำ) สารละลายในน้ำ จะประกอบด้วยสารจากการย่อยสลายของเสียที่ไม่เป็นพิษแล้ว รวมถึงสารหรือแร่ธาตุอื่นๆ จากไม้น้ำและวัสดุอุปกรณ์ในตู้ ที่ละลายในน้ำได้ สิ่งใดๆ ที่ใส่ลงในตู้ปลา ต้องระวังด้วยว่าอาจให้สารที่เป็นพิษละลายลงในน้ำ ปริมาณความเข้มข้นของสารละลายในน้ำ จะขึ้นกับจำนวนปลาในตู้ การถ่ายน้ำว่าถี่มากน้อยเพียงใด ประสิทธิภาพของระบบกรอง และย่อยสลายของเสียในน้ำในการปรับตัวเข้ากับสภาพน้ำใหม่ของปลาหางนกยูง ถ้าเป็นการปรับตัวจากน้ำที่มีสารละลายต่ำ ไปสู่น้ำธรรมชาติที่มีสารละลายสูงกว่า จะทำได้ง่ายกว่า การปรับตัวจากน้ำเลี้ยงที่มีสารละลายสูงกว่าเช่นน้ำในบ่อหรือแหล่งน้ำธรรมชาติมาสู่น้ำที่มีสารละลายต่ำกว่าเช่นน้ำประปา เมื่อได้ปลามาใหม่การลอยถุงพลาสติกในตู้เพื่อปรับอุณหภูมิก่อนปล่อยปลาลงตู้ เป็นวิธีที่ใช้ได้ดี ถ้าน้ำที่ใช้เลี้ยงปลาเดิมมีสภาพใกล้เคียงกับน้ำในตู้ของเรา หากน้ำที่ใช้มีความแตกต่างกัน เราควรเลี้ยงปลาในน้ำเดิมและค่อยๆเปลี่ยนถ่ายน้ำหรือเติมน้ำจนเป็นน้ำที่เราใช้เลี้ยงปลา ซึ่งอาจใช้เวลาหลายวันการเลี้ยงปลาหางนกยูงนิยมเลี้ยงในตู้ โดยไม่มีอุปกรณ์ประดับตู้ ระบบกรองอาจเป็นกรองนอกตู้หรือกรองฟองน้ำ ทำให้ดูแลทำความสะอาดได้ง่าย สิ่งสำคัญในการเลี้ยงปลาในตู้คือ ต้องคำนึงถึง การสมดุลของการเกิดของเสียและความสามารถของระบบการกำจัดและย่อยสลายสารที่เป็นพิษ ทำให้น้ำไม่เป็นพิษต่อปลา เช่นเมื่อปลาในตู้มีจำนวนมากการเกิดของเสียจากอาหารและการขับถ่ายของเสียมากเกินกว่าระบบย่อยสลายที่ระบบกรองจะกำจัดได้ทัน การเปลี่ยนถ่ายน้ำก็จะต้องทำให้ถี่ขึ้นเพื่อไม่ให้เกิดของเสียตกค้างในตู้มากเกินไป ในทางกลับกันถ้าปลาจำนวนน้อย การเกิดของเสียน้อย การย่อยสลายรวดเร็ว แต่การเลี้ยงปลาเป็นเวลานานโดยไม่มีการถ่ายน้ำ สารละลายในน้ำก็จะสะสมเข้มข้นขึ้นเรื่อยๆ ซึ่งอาจไม่ใช่สภาพแวดล้อมที่ดีที่สุดสำหรับการเลี้ยงปลาให้เติบโตสวยงาม การถ่ายน้ำแต่น้อยในระยะเวลาที่ห่างขึ้นจึงเป็นสิ่งที่ควรทำ การเลี้ยงปลาให้แข็งแรงเจริญเติบโต นอกจากอาหารที่พอเพียง จึงยังต้องการการจัดการดูแลระบบการย่อยสลาย และกำจัดของเสียให้มีประสิทธิภาพ ควบคู่ไปกับการเลี้ยงปลาการดูค่าความเป็นกรด ด่าง (pH) โดยใช้กระดาษทดสอบค่า pH จุ่มในน้ำ แล้วนำสีที่ได้มาเทียบค่า ให้มีค่าประมาณ 6.5 – 7.5 (กระดาษทดสอบหาซื้อได้ตามร้านขายอุปกรณ์เลี้ยงปลาทั่วไป)

 

เตรียมอาหาร

 

สำหรับอาหาร ปลาหางนกยูง จะกินสัตว์น้ำขนาดเล็ก ซึ่งเรียกว่าอาหารสดจำพวก ลูกน้ำ ไรแดง ไรสีน้ำตาล ไรทะเล ที่มีชีวิต หรืออาหารปลาสำเร็จรูปที่มีขายตามท้องตลาด อาหารควรให้ 2 เวลา คือ ตอนเช้าและตอนเย็น ตอนเช้าควรเป็นอาหารสดที่ผ่านการฆ่าเชื้อแล้ว โดยนำไปแช่ด่างทับทิม ขั้นตอนคือนำด่างทับทิมประมาณหยิบมือ ละลายน้ำ นำไรแดง หรืออาหารสดอื่นๆ ลงแช่ทิ้งไว้ประมาณ 10-20 วินาที แล้วล้างน้ำสะอาดอีกครั้ง ตอนเย็นอาจเปลี่ยนไปให้อาหารสำเร็จรูปแทนได้ เมื่อให้อาหารปลาเสร็จแล้ว ควรดูว่าปลากินหมดหรือไม่ ให้น้อยไปหรือไม่ สังเกตได้จากปลากินหมดเร็วมาก ก็ให้เพิ่มอีก แต่หากให้อาหารเยอะไปมีเศษอาหารเหลือ ให้ตักทิ้ง อาหารสดที่กล่าวมา สามารถหาซื้อได้ตามร้านขายปลาสวยงามทั่วไป หรือที่ตลาดนัดสวนจตุจักร สิ่งสำคัญ ควรให้อาหารสดจำพวกไรแดง ไรทะเล ดีกว่าให้อาหารสำเร็จรูป เพราะปลาจะได้มีสีสันที่สวยงาม

 

บทความที่แนะนำ